บริหารธุกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

MS. LMS.

ระบบจัดการเรียนการสอน คณะวิทยาการจัดการ  http://mslib.pbru.ac.th/moodle

พื้นฐานของระบบสารสนเทศ โครงสร้างพื้นฐาน บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ การบุรณการ ระบบสารสนเทศประเภทต่าง ๆ การบริหารทรัพยากรของวิสาหกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การบริหารเครือข่ายผู้ผลิตและความสัมพันธ์กับลูกค้า ระบบบิสเนสอินเทลลิเจนต์ ระบบเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารทั้งในองค์กร นอกองค์กร กลยุทธิ์การนำระบบสารสเทศเพื่อใช้ปรับเปลี่ยนองค์กร การพัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารทรัพย์สินระบบสารสนเทศ

ขั้นตอนกระบวนการและเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม มีเนื้อหา ประกอบด้วย องค์ประกอบของระบบ ทางเลือกวิธีการพัฒนาระบบ การวิเคราะห์ความต้องการ การศึกษาความเป็นไปได้ การออกแบบระบบ การเขียนผัง งาน การเขียนซูโด้โค้ด ซอฟท์แวร์ การออกแบบข้อมูลนำเข้า และการแสดงผล การประมวลผล ออกแบบข้อมูลการเก็บบันทึกข้อมูล การสร้างโปรแกรม การฝึกปฏิบัติ ใช้กรณีศึกษาเพื่อทำการวิเคราะห์ ออกแบบ จัดสร้างตันแบบ โดย ใช้วิธีการที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน และใช้เครื่องมือช่วยในกระบวนการ พัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสม

 แนวคิด หลักการ คุณสมบัติและสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลเบื้องต้น คุณสมบัติ การแบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การออกแบบฐานข้อมูล การนอมัลไลซ์ข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล ภาษาประมวลผลข้อมูล (SQL) สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ความมั่นคง การทำงานเวลาเดียวกัน ความสมบูรณ์ ระบบจัดการฐานข้อมูล การดูแลระบบฐานข้อมูล พื้นฐานของการออกแบบคลังข้อมูล 

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ กฎเกณฑ์ ขั้นตอนวิธีออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม หลักการเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม รูปแบบของคำสั่งต่างๆ โดยใช้ภาษาใดภาษาหนึ่งตามที่กำหนด ชนิดของข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน ข้อมูลประเภทโครงสร้าง ระเบียน แถวลำดับ ตัวแปรและการกำหนดชื่อ นิพจน์และการดำเนินการ การกำหนดเงื่อนไข คำสั่งทำงานซ้ำ คำสั่งในการเลือกปฏิบัติงาน โปรแกรมย่อยทั้งที่เป็นแบบมาตรฐานและที่เขียนขึ้นมาใช้งานเอง การกำหนดตัวแปรแบบโครงสร้าง การบันทึกและอ่านข้อมูลในรูปแบบไฟล์ ภาคปฏิบัติ ศึกษาตัวอย่างโปรแกรมและทดลองเขียนโปรแกรมด้วยตนเองโดยใช้เครื่องมือช่วยการเขียนโปรแกรม

ศึกษาพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย  หลักการสื่อสารข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าใจในโครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตราฐานชั้นสื่อสารระบบเปิด OSI 7 Layer รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) เครือข่ายภายใน (Intranet) และภายนอกองค์การ (Internet) พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ การส่งผ่านข้อมูลดิจิตอลและการอินเตอร์เฟส สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Multiplex) การตรวจจับข้อผิดพลาด (error detection) การควบคุมการไหลของข้อมูล (flow control) และการควบคุมข้อผิดพลาด (error control) การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สาหรับองค์ธุรกิจ  การบริหารจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  ประยุกต์การใช้ระบบคอมพิวเตอร์เครือข่าย LAN, WLAN มาตราฐาน TCP/IP และ Ethernet ความปลอดภัยบนเครือข่ายและเทคนิคการเข้ารหัส วิเคราะห์ และออกแบบ เครื่องมือในการจัดกลุ่มระบบ การแบ่งกลุ่ม การปฏิบัติงานภายในองค์การธุรกิจ การจัดระบบสำนักงานสาขา และการสื่อสารข้อมูลทางการตลาด และข่าวสารทางธุรกิจ ปฏิบัติงานวางระบบเครือข่ายงานทางธรุกิจ LAN, WLAN เทคโนโลยีเครือข่ายยุคใหม่