<iframe width="560" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/zfdcrh0iKh8?list=PLW0C-C4Ybh25N4aPZxUEdie01fwR6DRZ6" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
- Teacher: นายกรกฤษรุต ทองมี
การแสดงพื้นเมืองสี่ภาค
โดยทั่วไปภาคใต้มีอาณาเขตติดกับทะเลฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทำให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง ประชากรจึงมีชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณีและบุคลิกบางอย่างที่คล้ายคลึงกันคือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจ รวดเร็ว เด็ดขาด มีอุปนิสัยรักพวกพ้อง รักถิ่นที่อยู่อาศัย และศิลปวัฒนธรรมของตนเอง จึงมีความพยายามที่จะช่วยกันอนุรักษ์ไว้จนสืบมาจนถึงทุกวันนี้
การแสดงของภาคใต้มีลีลาท่ารำคล้ายกับการเคลื่อนไหวของร่างกายมากกว่าการฟ้อนรำซึ่งจะออกมาในลักษณะกระตุ้นอารมณ์ให้มีชีวิตชีวาและสนุกสนาน เช่น โนรา หนังตะลุงรองเง็ง ตารีกีปัส เป็นต้น
- Teacher: chonticha hongsa
สาระดนตรี
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การก าเนิดของเสียง ลักษณะของเสียง
เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบจังหวะและท านอง ระดับเสียงดัง – เบา (Dynamic) ความช้า – เร็ว ของ
เสียง อัตราความเร็วของจังหวะ (Tempo) ภาษาดนตรี การฝึกโสตประสาท การอ่านบทกลอนและการร้อง
เพลงประกอบจังหวะ การเคลื่อนไหวประกอบบทเพลงตามความดัง – เบา และความช้า – เร็ว ของจังหวะ
การฝึกปฏิบัติการร่วมบรรเลงหมู่ การใช้เครื่องดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภัย หลักการฟังและการรับรู้
เสียงดนตรี คุณลักษณะของเสียงธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เสียงขับร้อง และเสียงเครื่องดนตรี การสร้างสรรค์
ผลงานทางดนตรีและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เพลงที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน เพลงกล่อมเด็ก บทเพลง
ประกอบการละเล่น เพลงส าคัญ (เพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมี) ที่มามาของบทเพลงท้องถิ่น
และความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถิ่น
สาระนาฏศิลป์
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเคลื่อนไหวลักษณะต่าง ๆ การใช้
ภาษาท่าและการประดิษฐ์ท่าประกอบเพลง การใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่า การแสดงประกอบเพลงที่เกี่ยวกับ
ธรรมชาติและสัตว์ การประดิษฐ์ท่าประกอบการร า ระบ า เต้น ร าวงมาตรฐาน การเป็นผู้ชมที่ดีและมี
มารยาท การรับรู้ด้านความรู้สึกและการแสดงความรู้สึกอย่างสร้างสรรค์ ความรู้พื้นฐานด้านนาฏศิลป์
รูปแบบและวิธีการน าเสนอการแสดง การประดิษฐ์ท่าร าประกอบเพลง การจัดกิจกรรมนาฏศิลป์ การฝึก
ร่างกายให้เคลื่อนไหวอย่างสง่างาม การท างานกลุ่มจัดการแสดงละครเพลง วินัยในการท างานกลุ่ม
การละเล่นของเด็กไทย ประวัติความเป็นมาและคุณค่านาฏศิลป์ สุนทรียะของนาฏศิลป์ การสื่อความคิดและ
ความรู้สึกทางนาฏศิลป์ การเข้าชมหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมหรือการละครของโรงเรียน
ชุมชน ท้องถิ่นที่เหมาะสมกับวัย
- Teacher: สุนันทา ย้อมสี
- Teacher: พรวิมล ดวงทิพย์
ศึกษา วิเคราะห์ บรรยาย อธิบาย ฝึกปฏิบัติ เพลงที่ฟังโดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรีและศัพท์สังคีตความรู้สึกที่มีต่อดนตรี ทำนอง จังหวะ การประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟัง ประเภทและบทบาทหน้าที่เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ การอ่าน เขียนโน้ตไทยและโน้ตสากลธรรมนองง่ายๆ การใช้เครื่องดนตรีประกอบการร้องเพลง ด้นสด ที่มีจังหวะและทำนองง่ายๆ เรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ ดนตรีที่มาจากยุคสมัยที่ต่างกัน อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรีในท้องถิ่นการสร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดง โดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์การออกแบบเครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ การแสดงนาฏศิลป์และละครง่ายๆ ความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ ความคิดเห็นในการชมการแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจำวันสิ่งที่มีความสำคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์และการละครประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมการแสดงนากศิลป์และละคร
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
- Teacher: PBRU_กนกรัตน์ ทับทอง